วันเสาร์ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2553

สรุปสถานการณ์โรคไข้เลือดออก จ.ชลบุรี

รายงานสรุปสถานการณ์โรคไข้เลือดออก อำเภอพนัสนิคม จ.ชลบุรี ปี พ.ศ.2551
ตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค.2551 - 26 ก.ค.2551
(สัปดาห์ที่ 1 ถึง สัปดาห์ที่ 30 )
สรุปสถานการณ์จำนวนผู้ป่วยด้วยโรคไข้เลือดออกของอำเภอพนัสนิคม จ.ชลบุรี ที่ สสอ.พนัสนิคม
ได้รับรายงานตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2551 ถึง 26 กรกฎาคม 2551 พบว่ามีจำนวน 247 ราย(ในจำนวนนี้เป็น R/O 66 ราย) คิดเป็นอัตราป่วยเท่ากับ 212.51 ต่อแสนประชากร ในจำนวนนี้เสียชีวิต 1 ราย
เมื่อพิจารณาจำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดจำแนกรายสัปดาห์ที่ 1-30 พบว่า มีผู้ป่วยเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง
และสูงสุดในสัปดาห์ที่ 25, 27 (15 มิ.ย.-21 มิ.ย.51, 29 มิ.ย.- 5 ก.ค.51)สัปดาห์ละ 24 ราย, จำแนกรายเดือนพบว่ามีแนวโน้มสูงขึ้นตั้งแต่เดือนมีนาคม 2551 จำนวน 35 ราย และสูงสุดในเดือนมิถุนายน 2551 จำนวน 80 ราย รูปที่ 1,2













รูปที่ 2 จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำแนกรายเดือนของ อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี ปี 2551
ตั้งแต่ 1 มกราคม – 26 กรกฎาคม 2551
จำนวนผู้ป่วย











ตำบลที่มีจำนวนผู้ป่วยสูงสุด 41 รายได้แก่ ต.หมอนนาง รองลงมา 34 ราย และ 33 รายได้แก่
ต.พนัสนิคม และ ต.หนองเหียง ตามลำดับ ตำบลที่ยังไม่พบผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ได้แก่ ต.ท่าข้าม รูปที่ 3
ตำบลที่มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนสูงสุด 3 ลำดับแรก ได้แก่ ต.สระสี่เหลี่ยม, ต.บ้านช้าง และ
ต.หมอนนาง มีอัตราป่วยเท่ากับ 471.56, 373.83 และ 298.88 ต่อประชากรแสนคนตามลำดับ ดังรูปที่ 4
และตารางที่ 1

รูปที่ 3 จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกจำแนกรายตำบล อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี ปี 2551
ตั้งแต่ 1 มกราคม – 26 กรกฎาคม 2551
จำนวนผู้ป่วย











รูปที่ 4 อัตราป่วยโรคไข้เลือดออกจำแนกรายตำบล อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี ปี 2551
ตั้งแต่ 1 มกราคม – 26 กรกฎาคม 2551
อัตราป่วย











ตารางที่ 1 จำนวนผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกแยกรายตำบลและหมู่บ้านของอำเภอพนัสนิคม จ.ชลบุรี ปี พ.ศ. 2551(ข้อมูล ณ วันที่ 26 ก.ค. 51)
ตำบล หมู่ที่ รวม ประชากร อัตราป่วย ลำดับ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16
ท.พนัสนิคม 33 1 34 11,925 285.12
หน้าพระธาตุ 1 2 1 1 2 7 4,789 146.17
วัดหลวง 1 1 2 2,805 71.30
บ้านเซิด 1 3 1 5 3,353 149.12
นาเริก 1 1 1 2 14 2 21 8,805 238.50
หมอนนาง 10 7 4 2 5 2 1 3 1 6 41 13,718 298.88
สระสี่เหลี่ยม 6 9 3 1 11 2 32 6,786 471.56
วัดโบสถ์ 1 1 3,065 32.63
กุฏโง้ง 2 2 1 5 10 5,256 190.26
หัวถนน 1 5 6 4,879 122.98
ท่าข้าม 0 2,852 0.00
หนองปรือ 3 1 1 5 5,182 96.49
หนองขยาด 1 1 4 1 7 4,031 173.65
ทุ่งขวาง 2 1 1 1 5 4,146 120.60
หนองเหียง 1 1 5 3 2 7 3 1 5 3 2 33 12,828 257.25
นาวังหิน 2 2 2 6 7,129 84.16
บ้านช้าง 2 1 2 3 4 6 4 22 5,885 373.83
โคกเพลาะ 1 1 2 2,750 72.73
ไร่หลักทอง 3 1 4 3,361 119.01
นามะตูม 1 1 1 1 4 2,683 149.09
รวมทั้งอำเภอ 247 116,228 212.51

จำนวนผู้ป่วยแยกตามกลุ่มอายุได้ดังนี้ กลุ่มอายุ 0-4 ปี จำนวน 21 ราย, กลุ่มอายุ 5-9 ปี จำนวน 39 ราย ,
กลุ่มอายุ 10-14 ปี จำนวน 70 ราย,กลุ่มอายุ 15-24 ปี จำนวน 77 ราย, กลุ่มอายุ 25-34 ปี จำนวน 21 ราย , กลุ่มอายุ 35-44 ปี จำนวน 9 ราย,กลุ่มอายุ 45-54 ปี จำนวน 9 ราย และกลุ่มอายุ 55-64 จำนวน 1 ราย เมื่อคิดอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนพบว่า กลุ่มอายุ 10-14 ปี มีอัตราป่วยสูงสุดเท่ากับ 801.65 ต่อประชากรแสนคน รองลงมาได้แก่กลุ่ม กลุ่มอายุ 5-9 ปี , กลุ่มอายุ 15-24 ปี ,กลุ่มอายุ 0-4 ปี , กลุ่มอายุ 25-34 ปี,กลุ่มอายุ 45-54 ปีกลุ่มอายุ 35-44 ปี และกลุ่มอายุ 55-64 ปี ตามลำดับ มีอัตราป่วยต่อประชากรแสนคนเท่ากับ 439.14, 396.03, 282.26, 94.77, 65.33, 44.38 และ 10.98 ตามลำดับ(รูปที่ 5) เป็นผู้ป่วยเพศชาย 118 ราย เพศหญิง 129 รายคิดเป็นอัตราส่วน ชาย : หญิง เท่ากับ 1 : 1.09






















เมื่อพิจาณาจากแนวโน้มการระบาดในช่วง 4 สัปดาห์สุดท้ายที่ผ่านมา (สัปดาห์ที่ 27-30 ปี 2551)
ให้หน่วยงานสถานีอนามัยในพื้นที่และทีม SRRT อำเภอพนัสนิคม ดำเนินงานควบคุมโรคตามแนวทางในระยะการระบาดของโรคเน้นตามพื้นที่ดังนี้ คือ ตำบลที่ต้องดำเนินงานตามมาตรการกิจกรรมการระบาดใน
1. ระยะระบาดต่อเนื่อง มี 9 ตำบลได้แก่ ท.เมืองพนัสนิคม, ต.หมอนนาง, ต.สระสี่เหลี่ยม,ต.กุฎโง้ง ต.ทุ่งขวาง, ต.หนองเหียง, ต.นาวังหิน, ต.บ้านช้าง, ต.นามะตูม
2. ระยะระบาด มี 9 ตำบลได้แก่ ต.หน้าพระธาตุ, ต.วัดหลวง, ต.บ้านเซิด, ต.นาเริก, ต.หัวถนน, ต.หนองปรือ, ต.หนองขยาด, ต.โคกเพลาะ, ต.ไร่หลักทอง
3. ระยะปลอดโรค มี 2 ตำบลได้แก่ ต.วัดโบสถ์ และ ต.ท่าข้าม
และเมื่อพิจารณาในภาพรวมอำเภอแล้ว อำเภอพนัสนิคม อยู่ในระยะ การระบาดต่อเนื่อง







ตารางที่ 2 รายงานสถานการณ์การเกิดโรคไข้เลือดออกในพื้นที่อำเภอพนัสนิคมชลบุรี ในช่วงสัปดาห์ที่ 27-30(ณ วันที่ 26 ก.ค.51)
ตำบล พ.ศ.2551 การดำเนินงาน
และรายงานใน
ระยะ 1 ม.ค.- 26 ก.ค.2551 Median
5 ปี
พ.ศ.2546-2550 ประชากร
สัปดาห์ที่ จำนวน
ผู้ป่วย
(ราย) อัตราป่วย
ต่อประชากร
แสนคน
27 28 29 30
29-5 ก.ค.51 6-12 ก.ค.51 13-19 ก.ค.51 20-26
ก.ค.51
ท.พนัสนิคม 2 2 3 1 ระบาดต่อเนื่อง 34 285.12 11,925
หน้าพระธาตุ 1 ระบาด 7 146.17 4,789
วัดหลวง 1 ระบาด 2 71.30 2,805
บ้านเซิด 1 ระบาด 5 149.12 3,353
นาเริก 1 ระบาด 21 238.50 8,805
หมอนนาง 1 1 ระบาดต่อเนื่อง 41 298.88 13,718
สระสี่เหลี่ยม 6 1 1 ระบาดต่อเนื่อง 32 471.56 6,786
วัดโบสถ์ ปลอดโรค 1 32.63 3,065
กุฏโง้ง 5 1 ระบาดต่อเนื่อง 10 190.26 5,256
หัวถนน 2 ระบาด 6 122.98 4,879
ท่าข้าม ปลอดโรค 0 0.00 2,852
หนองปรือ 1 ระบาด 5 96.49 5,182
หนองขยาด 1 ระบาด 7 173.65 4,031
ทุ่งขวาง 2 1 ระบาดต่อเนื่อง 5 120.60 4,146
หนองเหียง 1 3 ระบาดต่อเนื่อง 33 257.25 12,828
นาวังหิน 1 1 ระบาดต่อเนื่อง 6 84.16 7,129
บ้านช้าง 1 2 ระบาดต่อเนื่อง 22 373.83 5,885
โคกเพลาะ 1 ระบาด 2 72.73 2,750
ไร่หลักทอง 1 ระบาด 4 119.01 3,361
นามะตูม 1 2 ระบาดต่อเนื่อง 4 149.09 2,683
รวมทั้งอำเภอ 24 11 9 5 ระบาดต่อเนื่อง 247 212.51 116,228
มาตรการกิจกรรมที่ต้องดำเนินงานตามระดับการระบาดของโรค
-ระดับ 1 ระยะปลอดโรค
( ดำเนินการข้อ 1 – 5 )


1. กำหนดแผนปฏิบัติงานการป้องกันโรคไข้เลือดออกเป็นรายเดือน ( รายงานทุกวันที่ 20 )
2. วิเคราะห์สถานการณ์โรคไข้เลือดออกรายสัปดาห์ ( รายงานทุกวันศุกร์ )
3. เผยแพร่สุขศึกษาประชาสัมพันธ์และประสานความร่วมมือจากองค์กรปกครองท้องถิ่น
4. รณรงค์การป้องกันโรคไข้เลือดออก Active Susveillance ( รายงานทุกวันที่ 15 ของทุกเดือน )
5. สำรวจดัชนีความชุกชุมลูกน้ำยุงลายรายสัปดาห์ HI CI ไม่เกิน 10 (รายงานทุกวันที่ 15 และ 25 )
- ระดับ 2 ระยะระบาด
( ดำเนินการข้อ 1 – 7 )
6. จัดตั้งทีมเคลื่อนที่เร็วเพื่อการควบคุมโรคไข้เลือดออกและการประเมินผลการควบคุมโรค ( ส่งให้อำเภอ/จังหวัด)
7. ควบคุมโรคและสำรวจความชุกชุมลูกน้ำยุงลาย (HI CI BI) บ้านผู้ป่วยและบริเวณรอบ ๆรัศมี 100
เมตรหลังควบคุมโรค 7 วัน ค่า HI CI BI ต้องเป็น 0 ( รายงานทุกวันศุกร์ )
- ระดับ 3 ระยะระบาดต่อเนื่อง(ดำเนินการข้อ1 – 10 ) 8. จัดตั้งศูนย์ควบคุมโรคเฉพาะกิจ เพื่อการควบคุมโรคให้สงบภายใน 2 สัปดาห์
9. ทำ Early Diagnosis ใน สอ. ให้ถือว่าผู้ป่วยที่มีอาการไข้เป็นผู้ป่วยไข้เลือดออกทุกราย
10. Active Case Finding (ค้นหาผู้ป่วยในชุมชน)


การดำเนินงานตามพื้นที่พบโรคของอำเภอพนัสนิคม จ.ชลบุรี
ตำบล ระดับ
สถานการณ์
ของโรค มาตรการขั้นต่ำที่ต้องดำเนินการในแต่ละระดับ หมาย
เหตุ
ระยะปลอดโรค
ระยะระบาด
ระยะระบาดต่อเนื่อง
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
พนัสนิคม ระบาดต่อเนื่อง / / / / / / / / / /
หน้าพระธาตุ ระบาด / / / / / / /
วัดหลวง ระบาด / / / / / / /
บ้านเซิด ระบาด / / / / / / /
นาเริก ระบาด / / / / / / /
หมอนนาง ระบาดต่อเนื่อง / / / / / / / / / /
สระสี่เหลี่ยม ระบาดต่อเนื่อง / / / / / / / / / /
วัดโบสถ์ ปลอดโรค / / / / /
กุฏโง้ง ระบาด / / / / / / / / / /
หัวถนน ระบาด / / / / / / /
ท่าข้าม ปลอดโรค / / / / /
หนองปรือ ระบาด / / / / / / /
หนองขยาด ระบาด / / / / / / /
ทุ่งขวาง ระบาดต่อเนื่อง / / / / / / / / / /
หนองเหียง ระบาดต่อเนื่อง / / / / / / / / / /
นาวังหิน ระบาดต่อเนื่อง / / / / / / / / / /
บ้านช้าง ระบาดต่อเนื่อง / / / / / / / / / /
โคกเพลาะ ระบาด / / / / / / /
ไร่หลักทอง ระบาด / / / / / / /
นามะตูม ระบาดต่อเนื่อง / / / / / / / / / /
รวมทั้งอำเภอ ระบาดต่อเนื่อง / / / / / / / / / /

ศูนย์ระบาดวิทยา
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอพนัสนิคม
26 ก.ค.2551

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น